Bitesize

สร้างสรรค์ธุรกิจบนแนวคิดแบบรักษ์โลก

วันนี้ The Sustain ขอนำเสนอโมเดลในการดำเนินธุรกิจแบบเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy แนวคิดการนำทรัพยากรที่ไปใช้แล้วกลับมาแปรรูป และนำกลับไปใช้ใหม่เพื่อการใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และเพื่อช่วยแก้ไขการใช้ทรัพยากรเกินความจำเป็นจากการขยายตัวของประชากรโลกรวมถึงเพื่อแก้ไขปัญหาขยะ นอกจากนี้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนยังสร้างโอกาสการลงทุนในธุรกิจใหม่ ๆ ให้กับ SMEs ด้วยเช่นกัน ลองมาดูแนวทางในการดำเนินธุรกิจแบบเศรษฐกิจหมุนเวียน ที่ท่านสามารถนำไปเป็นไอเดียในการจัดการกับธุรกิจได้ ดังนี้ 1. Circular design : ออกแบบอย่างไรให้รักษ์โลก การมุ่งเน้นการออกแบบผลิตภัณฑ์ ...
Bitesize

ไม่ธรรมดา! “Grow Green Stay” บ้านดินรักษ์โลกแห่งแรกในไทย

Booking.com เปิดตัว “Grow Green Stay” บ้านดินรักษ์โลกหนึ่งเดียวในไทยที่ตอบโจทย์การท่องเที่ยวยั่งยืน พร้อมเปิดให้จองแล้ว ในราคา 700 บาท (อัพเดทราคาที่เว็บอีกครั้ง) หลังจากเปิดตัวป้ายสัญลักษณ์ “ที่พักสำหรับเดินทางอย่างยั่งยืน” (Travel Sustainable Badge) กับผู้เดินทางทั่วโลกเมื่อปลายปีที่แล้ว ล่าสุด Booking.com ได้เปิดตัว “Grow Green Stay” บ้านดินรักษ์โลก ที่ถูกออกแบบมาอย่างพิเศษเพียงหนึ่งเดียวเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ...
10 วิธีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
Bitesize

10 วิธีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

10 วิธีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม “ปัญหาสิ่งแวดล้อม” หนึ่งในปัญหาของโลกเราที่ดำเนินต่อเนื่องมายาวนาน ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบันและกำลังทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ไม่เพียงเท่านั้นยังส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนเป็นอย่างมาก  ซึ่งต้นตอหรือที่มาของปัญหาสิ่งแวดล้อมก็เกิดมาจากมนุษย์เป็นสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นการเผาป่าจนเกิดเป็นควันพิษลอยไปบนชั้นบรรยากาศ การทิ้งขยะลงคลองจนน้ำเหม็นเน่าและทำลายระบบนิเวศในน้ำเสียสิ้น หรือแม้แต่มลพิษต่างๆจากยานพาหนะที่ขับขี่ในแต่ละวัน ก็ล้วนแต่สร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นได้ทั้งนั้น ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่เราจะมารวมพลังกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมรอบตัว เริ่มต้นง่ายๆจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตัวเราก่อน วันนี้เราจึงมี 10 วิธีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมาฝากกัน ชวนเพื่อน ชวนคนในบ้านมาลองทำด้วยกันง่ายๆดังนี้ วิธีที่ 1    ...
Smart farming ดีต่อสิ่งแวดล้อมจริงหรือไม่
Bitesize

Smart farming ดีต่อสิ่งแวดล้อมจริงหรือไม่

Smart farming ดีต่อสิ่งแวดล้อมจริงหรือไม่ ในโลกทุกวันนี้ เทคโนโลยีและรบบดิจิทัลได้เขามามีบทบาทในทุกอณูของชีวิตผู้คน ทั้งในภาคการศึกษา สังคม วัฒนธรรม อุตสาหกรรม รวมถึงในภาคเกษตรกรรม ก็ได้มีแนวคิดใหม่เพื่อนำมาพัฒนาการเกษตรที่เรียกกันว่า Smart Farming โดยมีจุดเริ่มต้นที่คนรุ่นใหม่ได้ผันตัวเองกลับไปเป็นเกษตรกรยุคใหม่(Smart Farmer)ที่บ้านเกิดของตนเอง และมีความสนใจในการทำเกษตรกรรมแบบไฮเทค ใช้เทคโนโลยีเข้าไปเปลี่ยนวิธีการและวิถีชีวิตแบบเดิมๆ  “smart farming” แท้จริงแล้วคืออะไร ดีต่อสิ่งแวดล้อมจริงๆหรือไม่ เราไปเรียนรู้จักเทคโนโลยีนี้ด้วยกัน Smart Farming  ...
Bitesize

ลอยกระทง อย่างไรให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เวียนมาครบรอบอีกครั้งหนึ่งกับกับวันเพ็ญเดือน 12 น้ำนองเต็มตลิ่ง เข้าสู่เทศกาลลอยกระทง ตามความเชื่อเรื่องการขอบคุณพระแม่คงคาอันเป็นตัวแทนของสายน้ำที่หล่อเลี้ยงชีวิตให้เราได้อุปโภคบริโภคด้วยดีเสมอมา แต่หากจะเป็นการขอบคุณสายน้ำจริงๆ เราเองก็ควรจะต้องหันมาทบทวนการเลือกกระทงและวิธีการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพราะไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นว่าการลอยกระทงยิ่งเป็นการเพิ่มมลภาวะเป็นพิษให้กับน้ำมากขึ้นอีก ซึ่งข้อมูลจากนายวิจารย์ สิมาฉายา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กล่าวว่า กทม.เก็บกระทงได้จำนวน 825,614 ใบ เป็นกระทงทำจากวัสดุธรรมชาติ 754,587 ใบ คิดเป็นร้อยละ 91.4 กระทงโฟม 71,027 คิดเป็นร้อยละ ...
Bitesize

รู้หรือไหม..? ขยะในทะเลใช้เวลาย่อยสลายนานแค่ไหน เพียงแค่ความมักง่าย

“ขยะ” เป็นประเด็นปัญหาระดับโลกที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก และขยะแต่ละชนิดต้องใช้เวลาในการย่อยที่แตกต่างกัน แล้วยิ่งหากขยะทั้งหลายทั้งปวงต้องไหลลงไปในทะเล จนกลายเป็น ขยะทะเล แล้ว  ช่วงเวลาในการย่อยสลาย อาจจะต้องใช้เวลาที่เนิ่นนานออกไปอีกด้วย ดังนั้น เพื่อเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อม พวกเราทุกคน ต้องช่วยร่วมมือกัน ไม่ให้เกิดขยะโดยไม่จำเป็น ขยะทะเล ถือเป็น ปัญหามลภาวะในทะเลที่กำลังก่อตัวขึ้น และมีส่วนทำให้สัตว์น้ำหลายล้านตัวล้มตายทุกๆปี  ขยะแค่ไม่กี่ชิ้น แต่เมื่อมันสะสมไปเรื่อยๆ ในเวลาต่อมา ขยะทะเล มันจะส่งผลกระทบอย่างหนักต่อทะเลและสัตว์น้ำอย่างมาก  อาจทำให้สิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศในทะเลผิดเพี้ยนไปจากเดิม ดังนั้น ทางแก้ไขที่ดีที่ทุกคนสามารถช่วยกันได้นั่นคือ ลดปริมาณขยะทะเล ต้องมีระเบียบวินัยและมีจิตสำนึกในการลดการใช้วัสดุที่จะเป็นขยะ ...
Bitesize

โลกร้อนทำพิษ! UNESCO เตือน ‘ธารน้ำแข็ง’ ชื่อดังหลายแห่งทั่วโลกจะละลายหายไปภายในปี 2050

ก๊าซมีเทน ตัวการทำ โลกร้อน ภาวะ โลกร้อน ที่ถูกพูดถึงมาอย่างยาวนาน ท่ามกลางความพยายามแก้ไขของหลายฝ่าย แต่ยิ่งโลกเจริญมากขึ้นเท่าไหร่ ก็ดูเหมือนว่ากิจกรรมของมนุษย์ที่กระทำต่อโลกไม่ได้ลดน้อยลงไปเลย นับตั้งแต่ยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงทศวรรษที่ 1980 เป็นต้นมา การปล่อยก๊าซมีเทนก็เพิ่มระดับขึ้นมาเรื่อยๆ เป็นเท่าตัว เป็นที่ทราบกันดีว่าอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นมีผลมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปล่อยมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง ในขณะที่ก๊าซมีเทนถูกจัดให้อยู่ในอันดับสองรองลงมา​ แต่รายงานจากเว็บไซต์ Environmental Defense Fund ระบุว่า ก๊าซมีเทนทำให้โลกร้อนขึ้นมากกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 80 เท่า ในขณะที่ปัจจุบันพบว่าโลกร้อนขึ้นเพราะก๊าซมีเทนถึง ร้อยละ ...
Bitesize

กระเป๋ารีไซเคิล ไอเทมรักษ์โลกมาแรง ที่สายแฟชั่นต้องมี!

เพื่อโลกที่ดีขึ้น ชวนเปลี่ยนโลกง่ายๆจากแฟชั่นกระเป๋ารักษ์โลก เพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก เปลี่ยนมาใช้กระเป๋าได้ไม่ซ้ำวัน นอกจากดีไซน์โดนๆ แล้ว ทุกใบยังเป็นแฟชั่นรักษ์โลก สามารถ Mix & Match กับสไตล์การแต่งตัวของตัวเองได้อีกด้วย กระเป๋ารีไซเคิล Shuter Life Thailand กระเป๋าดีไซน์เท่ไม่เหมือนใคร ที่สำคัญยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม “Shuter Life Thailand” สินค้าแต่ละชิ้น เกิดจากแรงบันดาลใจที่ต้องการให้ทุกคนหันมาร่วมคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ...
ชั้นบรรยากาศโลก คืออะไร
Bitesize

ชั้นบรรยากาศโลก คืออะไร

ชั้นบรรยากาศของโลกปกป้องโลกได้มากกว่าหนึ่งวิธี แถบอากาศบาง ๆ นี้มีลักษณะเฉพาะของโลก และเราอยู่ไม่ได้ถ้าไม่มีมัน บรรยากาศเป็นส่วนผสมของก๊าซที่ล้อมรอบโลก บนโลก บรรยากาศช่วยให้ชีวิตเป็นไปได้ นอกจากจะทำให้เราหายใจได้แล้ว ยังป้องกันเราจากรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ที่เป็นอันตรายส่วนใหญ่ที่มาจากดวงอาทิตย์ ทำให้พื้นผิวโลกอุ่นขึ้นประมาณ 33° C (59° F) ผ่านปรากฏการณ์เรือนกระจก และส่วนใหญ่ป้องกัน ความแตกต่างอย่างมากระหว่างอุณหภูมิกลางวันและกลางคืน ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะของเราก็มีชั้นบรรยากาศเช่นกัน แต่ไม่มีดาวเคราะห์ดวงใดมีอัตราส่วนของก๊าซและโครงสร้างชั้นใดเท่ากับชั้นบรรยากาศของโลก ก๊าซในชั้นบรรยากาศของโลก ไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นสิ่งที่พบได้บ่อยที่สุด อากาศแห้งประกอบด้วยไนโตรเจน ประมาณ 78% (N2) ...
Bitesize

นักว่ายน้ำระยะไกล ว่ายข้ามทะเลแดงปลุกสำนึกผู้นำสกัดภาวะโลกร้อน

ลูอิส พิว นักว่ายน้ำทรหดทางไกลตั้งใจจะว่ายน้ำข้ามทะเลแดงเป็นครั้งแรกของโลก เขาต้องการเน้นย้ำถึงความเปราะบางของแนวปะการังและมหาสมุทรก่อนการประชุมด้านสภาพอากาศครั้งใหญ่ในอียิปต์ที่จะเกิดขึ้นในเดือน พ.ย. นี้ เขาบอกกับบีบีซีนิวส์ว่าเขาต้องการให้ผู้นำของโลก “ลองจุ่มศรีษะของคุณลงไปดูใต้น้ำเพื่อจะได้เห็นว่าเราเสี่ยงที่จะสูญเสียอะไร หากเราไม่ดำเนินการด้านสภาวะ โลกร้อน อย่างเร่งด่วน” ลูอิส พิว นักว่ายน้ำชาวอังกฤษ-แอฟริกาใต้ หวังว่าจะว่ายน้ำระยะทาง 160 กิโลเมตร (ประมาณ 100 ไมล์) ในระยะเวลาสองสัปดาห์ ซึ่งเริ่มต้นภารกิจนี้ตั้งแต่ 11 ต.ค. ...

Posts navigation